วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555
ทดสอบปลายภาค
1.แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา
ให้นักศึกษาอ่านบทความอย่างน้อย 3 บทความหรือมากกว่า ใช้ Keywordว่า "แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา"ให้เขียนเชื่อมโยง
วิเคราะห์ลงในบล็อกของนักเรียน
แท็บเล็ต ( Tablet
) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลชนิดหนึ่งที่มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค
พกพาง่าย น้ำาหนักเบา มีคีย์บอร์ด ( keyboard ) ในตัว
หน้าจอเป็นระบบสัมผัส ( Touch-screen )ปรับหมุนจอได้อัตโนมัติ
แบตเตอรี่ใช้งานได้นานกว่าคอมพิวเตอร์พกพาทั่วไป ระบบปฏิบัติการมีทั้งที่เป็น Android
IOSและ Windows ระบบการเชื่อมต่อสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีทั้งที่เป็น Wi-Fi และ Wi-Fi + 3G
ดังนั้นแท็บเล็ตหรือคอมพิวเตอร์กระดานชนวนก็คือ
แผ่นจารึกที่เอาไว้บันทึกข้อความต่างๆโดยการเขียนซึ่งมีมานานแล้วในอดีต
แต่ในปัจจุบันมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์ที่มีการปรับใช้แนวคิดนี้ขึ้นมาแทนที่
ซึ่งจะมีหลายบริษัทที่ได้ให้คานิยามหรือการเรียกชื่อที่แตกต่างกันออกไปเช่น
แท็บเล็ตพีซี ( Tablet PC ) ซึ่งมาจากคาว่า Tablet
Personal Computer และ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ( Tablet
) นอกจากนี้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต ( Tablet
PC ) นับได้ว่าเป็นสื่อกระแสหลักที่กาลังมาแรงในสังคมยุคออนไลน์หรือสังคมสารสนเทศระบบเปิดในปัจจุบัน
เป็นสื่อที่ถูกนามาใช้ประโยชน์ในทุกกลุ่มอาชีพรวมทั้งการศึกษาและการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดับเนื่องมาจากสมรรถนะทางเทคโนโลยีที่สร้างความสะดวกและมีประสิทธิภาพสูงในการใช้งานจึงทาให้สื่อดังกล่าวมีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน
แม้แต่ในวงการศึกษาไทยที่ภาครัฐยังได้กำหนดและสนับสนุนการใช้ให้เกิดการเรียนรู้ในวงกว้างในปัจจุบัน
2.อ่านบทความเรื่องสมาคมอาเซียนอ่านบทความอย่างน้อย
3 บทความหรือมากกว่า ใช้ Keywordว่า
"สมาคมอาเซียน" ให้เขียนวิเคราะห์ ประเทศไทย ประเทศเพื่อนบ้าน
การเตรียมตัวเป็นครู นักเรียน นักศึกษา เพื่อไปสู่อาเซียนได้อย่างไร
ประชาคมอาเซียน หรือ
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้งสมาคม เมื่อ
เดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม แต่ดำเนินการไปได้เพียง 2 ปี
ก็ต้องหยุดชะงักลง
เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย
จนเมื่อมีการฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองประเทศ
จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้งจนปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ
วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน
1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดำรงชีวิต
6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดำรงชีวิต
6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
สำหรับประเทศไทยกับการเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มอาเซียน
ก็จะช่วยในเรื่องของเศรษฐกิจ ทำให้เศรษฐกิจที่ขึ้น
มาการแลกเปลี่ยนกลไกทางการค้าระหว่างประเทศ
มีการแลกเปลี่ยนกันทางวัฒนธรรมและทางสังคม ส่งเสริมความมีสันติภาพและความมั่นคงต่อกัน
เมื่อประเทศมีความมั่นคงทำให้ประเทศอื่นมีความเชื่อมั่นและกล้าที่จะมาลงทุนในประเทศไทย
เมื่อมีประเทศอื่นเข้ามาลงทุนมาก็จะทำให้เศรษฐกิจของไทยขยายตัวดีขึ้น
สำหรับการเตรียมตัวเป็นครู นักเรียน นักศึกษา
คือ ก่อนอื่นเราจะต้องมีความรู้ความสามารถในเรื่องของภาษาเราจะต้องฝึกพูดภาษาที่ใช้กันในอาเซียนเพื่อที่จะได้เปรียบในการทำงาน
และครูจะต้องมีความรู้ ความสามารถ จะต้องเป็นคนที่รู้ลึก รู้จริง
เพราะต่อไปนี้พอมีอาเซียนเข้ามาจะมีบุคคลจากภายนอกเข้ามาทำงาน
เข้ามาเป็นคู่แข่งกับเรา ดังนั้นการเตรียมตัวก็ควรจะเตรียมตัวทั้งแต่แรกเริ่มเพื่อความสบายในวันข้างหน้า
3.อ่านบทความครูกับภาวะผู้นำของ
ผศ.ดร.สมาน คำฟูแสง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับครู ให้ยกตัวอย่าง ประกอบ
แสดงความคิดเห็น บทความ ผศ.ดร.สมาน
คำฟูแสง
ผศ.ดร.สมาน ฟูแสง คณบดีคณะครุศาสตร์ ได้พูดถึงครูกับภาวะผู้นำทางวิชาการว่า
"การที่ครูมีความรู้ความสามารถและแสดงออกให้เห็นว่าเป็นผู้มีสมรรถนะด้านการจัดการเรียนการสอน เป็นที่ยอมรับของเพื่อนครู นักเรียน (นักศึกษา) และผู้ปกครอง จนทำให้เกิดกระบวนการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมให้เกิดในองค์กรได้"
ผู้นำที่ดีจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 4 ด้านคือ
ศรัทธา
ความไว้วางใจ
สร้างแรงบันดาลใจ
ยอมรับในความเป็นปัจเจกบุคคล
และได้พูดถึง "ครูกับภาวะผู้นำทางวิชาการ" โดยหยิบยกมาจาก Diann
De Pasquale ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ได้เสนอว่า
ครูที่จะเป็นผู้นำทางวิชาการ หรือผู้นำทางการเรียนการสอน ควรมีพฤติกรรม
7 ประการ คือ
1. หาหนังสือที่ติดอันดับขายที่ดีที่สุดมาอ่าน เพราะหนังสือที่ขายดีเป็นหนังสือที่มีความรู้มากมายและเป็นหนังสือที่ได้รับการยอมรับจากคนจำนวนมาก
2. อยู่กับปัจจุบัน /ทันสมัย คือ ครูจะต้องรู้เท่าทันเหตุการณ์ที่เป็นปัจจุบันเพื่อที่จะได้ปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับปัจจุบัน
3. หาข้อมูล มีความรู้ที่เกี่ยวกับเด็ก คือ การที่ครูมีความรู้เกี่ยวกับเด็กนักเรียนจะทำให้ครูสามารถเลือกรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับเด็กได้ ถ้าครูรู้จักเด็กจะทำให้เด็กไม่รู้สึกเบื่อเมื่อถึงเวลาเรียนและอาจเป็นแรงจูงใจให้เด็กเข้าเรียนก็ได้
4. ทำให้เด็กแสดงออกซึ่งการเป็นภาวะผู้นำ คือ ในขณะที่จัดการเรียนการสอนครูควรกระตุ้นให้เด็กเกิดการตอบโต้กับครูบ้าง ในการจัดการเรียนการสอนทุกครั้งครูควรมีคำถามมาถามนักเรียนเสมอๆ
และควรจะถามนักเรียนให้ครบทุกคน
5. กำหนดให้เด็กทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม คือ ในเวลาเรียนครูควรส่งเสริมให้เด็กได้ทำงานเป็นกลุ่มกันบ้างเพราะการทำงานเป็นกลุ่มทำให้เด็กได้รู้จักการแก้ปัญหา และได้รู้จักการช่วยเหลือแบ่งปันซึ่งกันและกัน และการทำงานเป็นกลุ่มจะทำให้เด็กมีภาวะผู้นำมากขึ้น
6. เชิญบุคคลภายนอกมาพูดให้เด็กฟัง คือ บางครั้งเมื่อเด็กเรียนกับครูมากเกินไปอาจทำให้เด็กเกิดอาการเบื่อ ต้องให้ผู้อื่นที่ไม่ใช่ครูมาสอนบ้าง หรือไม่ก็พาเด็กไปนอกสถานที่บ้าง
7. ท้าทายให้เด็กได้คิด คือ ในการจัดการเรียนการสอนทุกครั้งครูควรมีคำถามที่ที่ท้าทายความรู้เด็กเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดกระบวนการคิด
4.ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและประเมินวิชานี้ว่า
การเรียนรู้โดยใช้บล็อก นักศึกษามีวิธีการเรียนรู้อย่างไร
แสดงความคิดเห็นหากจะเรียนรู้โดยใช้บล็อก ต่อไปข้างหน้าโอกาสจะเป็นอย่างไร
ควรที่จะให้คะแนนวิชานี้อย่างไร และหากนักเรียนต้องการจะได้เกรดในวิชานี้
นักเรียนจะต้องพิจารณาว่า
4.1 ตนเองมีความพยายามมากน้อยเพียงใด
4.2 เข้าเรียนทุกครั้งไม่เคยขาดเรียน
4.3 ทำงานส่งผ่านบล็อกตามกำหนดทุกครั้งที่อาจารย์สั่งงาน
4.4 ทำงานบทบล็อกด้วยความคิดของตนเองไม่ใช้ความคิดคนอื่น
4.5.สิ่งที่นักเรียนตอบมานั้นเป็นความสัตย์จริง เขียนอธิบายลงในบล็อก
4.6.อาจารย์จะพิจารณาจากผลงานและความตั้งใจ ความสื่อสัตย์ตนเอง และบอกเกรดว่าควรจะได้เท่าไร
4.1 ตนเองมีความพยายามมากน้อยเพียงใด
4.2 เข้าเรียนทุกครั้งไม่เคยขาดเรียน
4.3 ทำงานส่งผ่านบล็อกตามกำหนดทุกครั้งที่อาจารย์สั่งงาน
4.4 ทำงานบทบล็อกด้วยความคิดของตนเองไม่ใช้ความคิดคนอื่น
4.5.สิ่งที่นักเรียนตอบมานั้นเป็นความสัตย์จริง เขียนอธิบายลงในบล็อก
4.6.อาจารย์จะพิจารณาจากผลงานและความตั้งใจ ความสื่อสัตย์ตนเอง และบอกเกรดว่าควรจะได้เท่าไร
แสดงความคิดเห็น
ดิฉันคิดว่าการเรียนรู้โดยการใช้บล็อกมีประโยชน์มากเพราะการใช้บล็อกในการทำงานเป็นสิ่งที่ง่ายอยู่กับเราได้นานและมีประโยชน์กับตนเองทั้งปัจจุบันและในอนาคต
เพราะเราสามารถศึกษาค้นคว้าเมื่อไรก็ได้
สำหรับการเรียนรู้ของตัวดิฉันเองก็สามารถเรียนรู้ได้ง่ายเพราะสิ่งที่เราอยากรู้หรือสิ่งที่เราอยากให้คนอื่นรู้จากเรา
เราก็สามารถศึกษาหรือให้ข้อมูลผ่านทางบล็อกได้เลย
ถ้าอนาคตมีการเรียนรู้โดยใช้บล็อกดิฉันคิดว่ามันคงดีมากและสะดวก
สบายและในการใช้บล็อกมีประโยชน์ทั้งตัวเราและคนอื่น
ส่วนในการพิจารณาในการได้คะแนนในวิชานี้เราต้องมีความพยายามมากเพราะในการทำทุกครั้งต้องให้งานออกมาดี
หรือออกมาอย่างถูกต้องและสมบรูณ์ และในการเข้าเรียนนั้นก็เข้าเรียนทุกครั้งแต่ถ้าจะไม่มาเรียนหรือติดธุระต้องสำคัญจริงๆเพราะวิชานี้เป็นวิชาที่สำคัญกับตัวเราในอนาคต
งานทุกชิ้นที่อาจารย์สั่งก็ต้องส่งให้ครบ ในความคิดเห็นของดิฉันในการทำงานบนบล็อกแต่ละครั้งมันก็มีอุปสรรคมากอยากทำงานให้เสร็จแต่ดันไม่มีสัญญาณเน็ต
ลำบากมากเลยเวลาสัญญาณเน็ตเข้าไม่ได้เพราะมันทำให้เราทำงานไม่ได้เพราะงานทุกชิ้นต้องใช้สัญญาณเน็ตในการทำงานบนบล็อก
ถ้าถามว่าดิฉันอยากได้เกรดอะไรวิชานี้ดิฉันอยากได้ Aเพราะงานทุกชิ้นดิฉันตั้งใจทำมากและวิชานี้เป็นวิชาสำคัญมากสำหรับตัวดิฉันเอง
วิชานี้สามารถทำให้ดิฉันเรียนรู้อะไรที่ดิฉันไม่เคยรู้
และทำบล็อกเป็นจากที่ไม่รู้จักมาก่อนว่าบล็อกมีหน้าตาเป็นอย่างไร
ดิฉันดีใจที่มีบล็อกเป็นของตนเองถึงมันจะมีอุปสรรคในการทำงานในแต่ละครั้งก็ตาม
วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555
กิจกรรมที่9
การจัดการห้องเรียนที่ดี
ในการจัดห้องเรียนที่ดี คือการจัดสภาพห้องเรียน เป็นการจัดตกแต่งห้องเรียน
ให้มีบรรยากาศที่น่าเรียนเพื่อที่จะส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
นอกเหนือจากความหมายการจัดการห้องเรียนแล้ว
ครูยังเป็นผู้ดำเนินการในการจัดการคือครูต้องสร้างกิจกรรมทุกอย่างที่ครูทำเพื่อจะช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สถานที่นั่งเรียนจะต้องมีอากาศที่ปลอดโปร่งถ่ายเทได้อย่างสะดวก
ไม่มีสิ่งภายนอกมารบกวนระหว่างทำการเรียนการสอน
มีการเปลี่ยนแปลงสถานที่ในการสอนเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์
การจัดโต๊ะครู
1. ให้อยู่ในจุดที่เหมาะสม อาจจัดไว้หน้าห้อง ข้างห้อง
หรือหลังห้องก็ได้
งานวิจัยบางเรื่องเสนอแนะให้จัดโต๊ะครูไว้ด้านหลังห้องเพื่อให้มองเห็นนักเรียนได้อย่างทั่วถึง
อย่างไรก็ตาม การจัดโต๊ะครูนั้นขึ้นอยู่กับรูปแบบการจัดที่นั่งของนักเรียนด้วย
2. ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งบนโต๊ะและในลิ้นชักโต๊ะ เพื่อสะดวกต่อการทำงานของครู และการวางสมุดงานของนักเรียน ตลอดจนเพื่อปลูกฝังลักษณะนิสัยความเป็นระเบียบเรียบร้อยแก่นักเรียน
2. ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งบนโต๊ะและในลิ้นชักโต๊ะ เพื่อสะดวกต่อการทำงานของครู และการวางสมุดงานของนักเรียน ตลอดจนเพื่อปลูกฝังลักษณะนิสัยความเป็นระเบียบเรียบร้อยแก่นักเรียน
กิจกรรมที่8
ครูมืออาชีพในอุดมคติ
ครูในอุดมคติของข้าพเจ้า คือ
ต้องให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
โดยยินดีรับฟังความคิดเห็นของนักเรียนอย่างจริงใจและจริงจัง ต้องมีการแต่งกายสุภาพ ใจดี มีการเตรียมตัวทุกครั้งที่จะสอนและมีความรู้ในเนื้อหาที่จะสอนอย่างชัดเจนแม่นยำ เป็นคนร่าเริงและเป็นกันเองกับลูกศิษย์ และมีการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่ทำให้เด็กได้คิด
มีการลงมีปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและครูมืออาชีพจึงต้องมีความสามารถ
วันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555
กิจกรรมทดรมทดสอบกลางภาค
บทความเรื่อง ความเป็นครูของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ของ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล วารสาน ทักษิน
1. ข้อสรุปที่ได้จากบทความ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน ความเป็นครูของพระองค์ท่านคือ “ ทรงทำให้ดู ” เป็นครูที่พยายามที่จะจูงใจนักเรียนให้มาสนใจ พยายามสอนให้นักเรียนรู้ให้นักเรียนเข้าใจ และเมื่อจะสอนให้คนดี ครูต้องดีก่อน จะสอนให้เด็กทำอะไรครูต้องเป็นอย่างนั้นก่อน การเรียนไม่ใช่เรียนในเฉพาะห้องเรียนเท่านั้นแต่บางอย่างเราต้องเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จริงด้วย และพระองค์ท่านยังทรงสอนให้เคารพคน ให้รู้จักคน ให้เข้าใจคน ให้ รู้ รัก สามัคคี ปรองดองกัน
2. ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
ข้าพเจ้าจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน คือข้าพเจ้าจะนำแนวทางการสอนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปใช้ โดยในการจัดการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ข้าพเจ้าจะทำให้นักเรียนดูก่อน เพื่อที่จะจูงใจให้นักเรียนสนใจ พยายามสอนให้นักเรียนเข้าใจ จะสอนในด้านคุณธรรม จริยธรรมด้วย และข้าพเจ้าจะเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียนด้วย
3. ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะออกแบบการเรียนการสอนที่ที่จะนำแนวคิดนี้ไปใช้ได้อย่างไร
ข้าพเจ้า จะเริ่มต้นจากการเสริมสร้างผู้เรียนให้มีการเรียนรู้วิชาการและทักษะต่างๆที่จำเป็น เพื่อให้สามารถรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆและอยู่อย่างเศรษฐกิจพอเพียงได้ พร้อมทั้งเสริมสร้างคุณธรรม จนมีความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าของการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม
บทความที่ 3
วิถีแห่งสตีฟ จ๊อบส์ THE
STEVE JOBS WAY
1.ข้อสรุปที่ได้จากบทความ
สตีฟ
จ๊อบส์ คือ
คนที่การศึกษาอย่างเป็นทางการไม่สูงนักแต่ฉลาดและน่าสนใจเขาได้คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ
ที่สร้างขึ้นจากมันสมองอัญชาญฉลาดของเขาสิ่งที่สร้างนั้นก็ไม่ได้เกิดขึ้นมาจากปาฏิหาริย์
แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากมันสมองและสองมือของมนุษย์ที่ผ่านกระบวนการ“ฝึก ศึกษา พัฒนา และใช้ปัญญา” กว่าเขาจะมาถึงวันนี้เข้าต้องฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆๆมากมายแต่ก็สามารถพ้นผ่านมาได้จนได้
จนกลายเป็นผู้คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆอย่างคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
2.ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
จะนำความรู้ที่มีทั้งหมดนำไปถ่ายทอดให้แก่ลูกศิษย์โดยที่จะไม่หวงวิชา
โดยใช้การสอนที่ทำให้นักเรียนทุกคนแสดงความสามารถของแต่ละคนออกมาให้ดีที่สุดและทำให้เขารู้ว่าเขามีความถนัดด้านใดก่อนที่จะสอนจะสอบถามถึงความถนัดในวิชาที่เรียนและนักเรียนเสนอแนวคิดและสิ่งที่จะเรียนที่แตกต่างกันออกไปแล้วนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
เปิดโอกาสให้นักเรียนทึกคนได้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนอย่างเต็มที่
3.
ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะออกแบบการเรียนการสอนที่ที่จะนำแนวคิดนี้ไปใช้ได้อย่างไร
ในอนาคตข้าพเจ้าจะเป็นครูผู้สอน และจะนำแนวคิดของบทความนี้ไปใช้ในการออกแบบการสอนโดย
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเข้าใจ สามารถนำไปใช้ได้จริงจะมีการจัดกิจกรรมกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มากที่สุด
วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
กิจกรรมที่7
สอนสังคมแบบ โยนิโสมนสิการ
อาจารย์ผู้สอน อ.สิริมา กลิ่นกุหลาบ
สอนระดับชั้น ป.๒
สอนเรื่อง คุณ โทษ และทางออกของปัญหา เพื่อให้นักเรียนรู้จักการแก้ปัญหา
เนื้อหาที่สอน
๑. การสร้างศรัทธาโดยการร้องเพลงดอกไม้บาน
๒. ให้เด็กทำดอกไม้แห่งความดี เด็กเกิดความภูมิใจที่ทำความดีและได้รับคำชมเชยจากเพื่อนร่วมชั้น
๓. เด็กรู้จักคิดด้านบวกและลบ โดยการสร้างสถานการณ์ให้เด็กรู้จักคิดเพิ่มมากขึ้นและรู้จักวิธีแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้
๒. ให้เด็กทำดอกไม้แห่งความดี เด็กเกิดความภูมิใจที่ทำความดีและได้รับคำชมเชยจากเพื่อนร่วมชั้น
๓. เด็กรู้จักคิดด้านบวกและลบ โดยการสร้างสถานการณ์ให้เด็กรู้จักคิดเพิ่มมากขึ้นและรู้จักวิธีแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้
๔.การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
๕.การคิดไตร่ตรองก่อนการแก้ปัญหา
๖.ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยเรา
กิจกรรมด้านการสอน
-ด้านสติปัญญา มีการกระตุ้นสติปัญญาของเด็กให้เด็กรู้จักคิด กล้าที่จะแสดงออก
-ด้านอารมณ์มีการกระตุ้นให้เด็กมีอารมณ์ร่วมในการเรียนรู้ สนใจการเรียน
-ด้านคุณธรรมจริยธรรม สอนให้เด็กรู้จักช่วยเหลือสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
บรรยากาศการจัดห้องเรียน
นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน มีความกล้าแสดงออก สีหน้าของนักเรียนแสดงถึงความรู้สึกมีความสุขในการเรียนครูไม่กดดันนักเรียน ให้นักเรียนมีอิสระในการเรียน
วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
กิจกรรมที่5
ครูที่ฉันชอบ
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นายเชาวรัตน์ รักษาพล
นามแฝง/นามปากกา ครูเชาว์ เขาทะลุ
เกิดวันอังคารที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2509 ปีมะเมีย อายุ 43 ปี
อยู่บ้านเลขที่ 48 ม.1 บ้านคลองขุด ต.หูล่อง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
คติชีวิต “สังคมดีไม่มีขาย อยากได้ต้องช่วยกันทำ อยากให้สังคมดี มีเงินช่วยเงิน
มีแรงช่วยแรง ไม่มีเงินไม่มีแรง ช่วยให้กำลังใจ”
ปรัชญาชีวิต “สืบสาน เจตนารมณ์ อุดมการณ์ ของบรรพบุรุษ”
- คติชีวิต “สังคมดีไม่มีขาย อยากได้ต้องช่วยกันทำ อยากให้สังคมดี มีเงินช่วยเงิน
มีแรงช่วยแรง ไม่มีเงินไม่มีแรง ช่วยให้กำลังใจ”
- ปรัชญาชีวิต “สืบสาน เจตนารมณ์ อุดมการณ์ ของบรรพบุรุษ”
ประวัติการศึกษาระดับประถมศึกษา จบ ป.4 จากโรงเรียนเทศบาลวัดศรีสมบูรณ์ อ.ปากพนัง จ.นครฯ (ปี 2520)
ระดับประถมศึกษา จบ ป.6 จากโรงเรียนเทศบาลวัดนาควารี อ.ปากพนัง จ.นครฯ (ปี 2522)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จบ ม.3 จากโรงเรียนปากพนัง อ.ปากพนัง จ.นครฯ (ปี 2525)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จบ ม.6 จากโรงเรียนจรัสพิชากร อ.เมือง จ.นครฯ (ปี 2528)
ระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเอกสุขศึกษา วิชาโทเทคโนโลยีทางการศึกษา(ปี 2531)
- คติชีวิต “สังคมดีไม่มีขาย อยากได้ต้องช่วยกันทำ อยากให้สังคมดี มีเงินช่วยเงิน
มีแรงช่วยแรง ไม่มีเงินไม่มีแรง ช่วยให้กำลังใจ”
- ปรัชญาชีวิต “สืบสาน เจตนารมณ์ อุดมการณ์ ของบรรพบุรุษ”
ประวัติการทำงาน
ลำดับที่ 1.พ.ศ.2531 ตำแหน่ง ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์สยามกีฬา หน่วยสังกัดมวยสยามภาคใต้
ลำดับที่ 2.พ.ศ.2536 ตำแหน่ง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ลำดับที่ 3.พ.ศ.2542 ตำแหน่ง นักจัดรายการวิทยุ – โทรทัศน์ – เวทีคอนเสิร์ตครูเชาว์โชว์
ผลงานที่ข้าพเจ้าชื่นชอบ1.ผู้สื่อข่าวดีเด่นของหนังสือพิมพ์สยามกีฬา รับรางวัลจากนายกสมาคมสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย
2.ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียนดีเด่น
3.นักจัดรายการวิทยุดีเด่น (ด้านการใช้ภาษาถิ่น) ของจังหวัดนครศรีธรรมราช
สิ่งที่จะนำมาพัฒนาตนเอง1. จะเป็นคนที่ใฝ่รู้
2. จะเป็นคนที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
3. มีจิตอาสาทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
เกิดวันอังคารที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2509 ปีมะเมีย อายุ 43 ปี
อยู่บ้านเลขที่ 48 ม.1 บ้านคลองขุด ต.หูล่อง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
มีแรงช่วยแรง ไม่มีเงินไม่มีแรง ช่วยให้กำลังใจ”
ปรัชญาชีวิต “สืบสาน เจตนารมณ์ อุดมการณ์ ของบรรพบุรุษ”
มีแรงช่วยแรง ไม่มีเงินไม่มีแรง ช่วยให้กำลังใจ”
- ปรัชญาชีวิต “สืบสาน เจตนารมณ์ อุดมการณ์ ของบรรพบุรุษ”
ประวัติการศึกษาระดับประถมศึกษา จบ ป.4 จากโรงเรียนเทศบาลวัดศรีสมบูรณ์ อ.ปากพนัง จ.นครฯ (ปี 2520)
ระดับประถมศึกษา จบ ป.6 จากโรงเรียนเทศบาลวัดนาควารี อ.ปากพนัง จ.นครฯ (ปี 2522)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จบ ม.3 จากโรงเรียนปากพนัง อ.ปากพนัง จ.นครฯ (ปี 2525)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จบ ม.6 จากโรงเรียนจรัสพิชากร อ.เมือง จ.นครฯ (ปี 2528)
ระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเอกสุขศึกษา วิชาโทเทคโนโลยีทางการศึกษา(ปี 2531)
- คติชีวิต “สังคมดีไม่มีขาย อยากได้ต้องช่วยกันทำ อยากให้สังคมดี มีเงินช่วยเงิน
มีแรงช่วยแรง ไม่มีเงินไม่มีแรง ช่วยให้กำลังใจ”
- ปรัชญาชีวิต “สืบสาน เจตนารมณ์ อุดมการณ์ ของบรรพบุรุษ”
ลำดับที่ 2.พ.ศ.2536 ตำแหน่ง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ลำดับที่ 3.พ.ศ.2542 ตำแหน่ง นักจัดรายการวิทยุ – โทรทัศน์ – เวทีคอนเสิร์ตครูเชาว์โชว์
2.ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียนดีเด่น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)